วิชา  ระบบสื่อสารแอนะลอก                                                                                                                          

หน่วยที่  3  ชื่อหน่วย  การมอดูเลตความถี่                                                                                                     จำนวน  9  คาบ

ใบงานที่  2  ชื่องาน  ความถี่เบี่ยงเบนและดัชนีการมอดแบบ FM                                                              จำนวน  2  คาบ

 


จุดประสงค์ทั่วไป

                เพื่อให้เข้าใจการทำงานการมอดูเลตความถี่

 

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

1.       คำนวณหาค่าความถี่เบี่ยงเบนได้

2.       คำนวณหาค่าดัชนีการมอดแบบ FM ได้

 

เนื้อหา

                ลักษณะที่สำคัญ

                                พิจารณาสัญญาณ Sine wave vm(t) มี Pulse w (รูป 2.1)

                                V(t)  =  B° sin(w°t) B.sin(w.t)

                                และ Sine Wave อีกอันหนึ่ง VC(t) มี Pulse W

                                vC(t)  =  A°sin(W°t) A.sin(W .t)

                สัญญาณ Vm(t) เรียกว่า สัญญาณ Modulating สัญญาณ VC(t) เรียก Carrier signal ปรับความถี่ของ Carrier VC(t)  ให้สอดคล้องกับสัญญาณ Modulating Vm(t) จะได้ VM(t) สัญญาณ Frequency Modulated แสดงได้โดยความสัมพันธ์ต่อไปนี้

                                                VM(t)  =  A°sin[q(t)]

                                                q(t)  คือ  Instantaneous Angle Function ของ Vm(t)

                นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ของ Frequency Modulated Signal  Instantaneous Pule W(t) ของสัญญาณ FM

                                W(t)  =  W + K°Vm(t)

                                โดย  hW  =  Carrier Pulse

                                             K  = Modulation Sensitivity

                มุม Instantaneous q(t) ที่ใช้ในสัญญาณ sine เป็นสมการคณิตศาสตร์ของ สัญญาณ FM หาได้จากการอินทิเกรต W(t)

                                                q(t)  =  W(t) dt

                ในกรณีของสัญญาณ Modulating Sine Wave [Vm(t) = B*sin(w*t)

                                                q(t)  =  W°t - (K°B/w)° cos(w°t)

 

-99-

                ลักษณะต่าง ๆ ของสัญญาณ frequency Modulated Vm(t) มาจากสมการ

                                                vM(t)  =  A*sin[W*t-(K*B/w)*cos(w*t)]


 

รูป  2.1  a)  สัญญาณ carrier     b)  modulating     c)  สัญญาณ modulated

 

 
                ความถี่เบี่ยงเบน (DF)  และ ดัชนีการมอดดูเลต ความถี่ในขณะหนึ่ง F(t) ของ Carrier ที่ Modulate โดย Sine wave

                                F(t)  =   W(t)  =   W     +K  B   sin(w  t )(K.B.sin.(w.t)

                                                2p         2p

 

 

                                Fmin  =    W   -  K*B                                                          Fmax  =   W   +      K*B

                                                 2p         2p                                                                          2p         2p

 

                ความเบี่ยงเบน (DF) แสดงการเลื่อนมากที่สุดระวห่างความถี่ของ modulated signal มากกว่า และน้อยกว่า ความถี่ของ carrier

 

                                DF  =   Fax  -  Fmin

                                                       2

 

-100-

                นิยามดัชนีการมอดูเลท (mf เท่ากับอัตราส่วนระหว่าง D F และ modulating frequency f)

 

 
mf  =    D F

                 f

 


                การคำนวณหาค่าความถี่เบี่ยงเบน  (Df)และดัชนีการมอด mf


รูป 2.2

รูป 2.3

                Frequency Deviation D F หาได้โดย

·       หาค่า FM และ Fm จาก ออสซิลโลสโคป และหาคาบของ Sine Wave

·       D F  =  (FM - Fm)/2

สังเกตได้ว่า  ถ้า Modulator ทำงานในช่วงที่เป็นเชิงเส้น FM และ Fm จะอยู่สูงกว่าและต่ำกว่า ความถี่กลาง F ของ D F เดียวกัน

Modulation Index mf คำนวณได้จากความสัมพันธ์ mf = DF/f   โดย f  คือ ความถี่ของ Modulating Signal

-101-

เครื่องมือและอุปกรณ์

                1.  แผงทดลองหมายเลข  T10A                                                                          1  แผง

                2.  แหล่งจ่ายไฟ  ±  12Vdc                                                                                 1  เครื่อง

                3.  ออสซิโลสโคป                                                                                                 1  เครื่อง

                4.  สายต่อวงจร                                                                                                     10  เส้น

 

ลำดับขั้นทดลอง

1.       จ่ายแรงดัน  ±  12V.  ให้กับชุดทดลอง T10A  ต่อวงจรดังรูป  และตั้งค่าดังนี้

·       FUNCTION   GENERATOR  Sine Wave (J1)  ; LEVEL ประมาณ 0.2 Vpp  ; ความถี่ประมาณ 1 kHz.

·       VCO1 LEVEL ประมาณ 2 Vpp ; ความถี่อยู่ตรงกลางปรับ Switch ไปที่ 1500 kHz

2.      

ต่อ ออสซิลโลสโคป กับเอาท์พุทของ Modulator (จุดที่ 19) จะได้ Wave Form เหมือนรูป 2.2