วิชา ระบบสื่อสารแอนะลอก
หน่วยที่ 3 ชื่อหน่วย
การมอดูเลตความถี่ (Frequency modulation) จำนวน 9
คาบ
ใบงานที่ 1 ชื่องาน
คุณลักษณะของการมอดูเลตแบบ FM จำนวน 3
คาบ
จุดประสงค์ทั่วไป
เพื่อให้เข้าใจการทำงานการมอดูเลตความถี่
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1.
คำนวณหา Modulation sensitivity ได้
2.
คำนวณหา Nonlinearity ของ
modulator ได้
เนื้อหา
การทำ Frequency modulation
วงจรที่ใช้ในการทำ Frequency modulation ต้องเปลี่ยนความถี่ของสัญญาณความถี่สูง
(Carrier) เป็น Function ของ amplitude
ของสัญญาณความถี่ต่ำ (Modulating signal) ในทางปฏิบัติ
มี 2 วิธีในการสร้าง FM
·
วิธีตรง ใช้ออสซิลโลสโคป
ต่อกับที่ซึ่งความต้านทานของส่วนประกอบของวงจร resonant ขึ้นอยู่กับแรงดัน
Modulating อุปกรณ์ส่วนใหญ่ที่มีความต้านทานปรับค่าได้คือ Varactor หรือ Varicap
ซึ่งเป็น Diode ชนิดที่ความจุดไฟฟ้าแปรผันตาม
Function ของแรงดัน Reverse Bias (Varicap
จะอธิบายในบทต่อไป) ความถี่ของ Carrier
สร้างโดยวงจร AFC (Automatic Frequency Control) หรือ PLL (Phase Locked
·
วิธีอ้อม ในกรณีนี้ ได้สัญญาณ FM จาก
Phase Modulation หลังจากมีการรวมกับ Modulating signal ใน Phase modulator มีการสร้าง carrier โดย Quartz oscillator ทำให้มีความคงตัวของความถี่มากในวงจรสำหรับแบบฝึกหัด
Frequency modulation สร้างขึ้นโดย Hartley Oscillator ซึ่งความถี่ถูกกำหนดโดยความเหนี่ยวนำคงตัว และตัวเก็บประจุ (ปรับค่าได้) จาก Varicap
diode
Varicap diode
Varicap (หรือ
Varactor) คือ Diode ซึ่งมีความจุไฟฟ้าขึ้นอยู่กับแรงดัน
Reverse Bias สัญญลักษณ์และ วงจรสมมูลของ Varicap diode แสดงในรูป 1.1 โดย
·
Cj =
ความจุไฟฟ้าของหัวต่อ
·
Rs =
ตัวต้านทานต่ออนุกรม (มีค่าลดลงเมื่อแรงดัน
reverse เพิ่มขึ้น)
Cj ขึ้นกับแรงดัน reverse VR
ที่ให้กับ diode ตามความสัมพันธ์ต่อไปนี้
Cj = Co
(1+VR/VD)h
-91-
โดย VR = แรงดัน Reverse ที่ให้กับ Varicap
Co = ความจุไฟฟ้าของหัวต่อสำหรับ VR = 0
VD = ศักย์ไฟฟ้าที่หัวต่อ (0.6
V ใน silicon
diode)
n = ขึ้นอยู่กับกระบวนการผลิต
มีค่าอยู่ระหว่าง 0.3 ถึง 0.6 โดยประมาณ
Factor
of merit Q ของ diode = 1/(w*Cj*Rs รูป 1.2 แสดง curve ระหว่าง "capacity/VR"และ
"merit factor/VR" ของ Varicap diode MVAM115) ที่ใช้ใน FM
modulator
รูป 1.1 สัญลักษณ์ และ วงจรสมมูลของ Varicap
diode
รูป 1.2 curve ลักษณะเฉพาะของ
Varicap diode
-92-
รูป 1.3 curve เพื่อการวิเคราะห์
จากการวิเคราหะ Curve สังเกตได้ว่ามีบางส่วนไม่เป็นเชิงเส้น
พิจารณาให้ Modulator ทำงานในช่วง
700-1300 kHz. โดยมีความถี่กลางที่ 1000 kHz. จากการวิเคราะห์ Curve ในรูป 1.3 สามารถคำนวณ
Modulation sensitivity และ non linearity ของ modulator ได้
นิยามของ modulation sensitivity คือ
S =
โดย F(v) คือ Instamtameous frequency function ของแรงดัน
modulating v สามารถเขียนสมการใหม่ได้เป็น
S =
จากรูป 1.3 ความถี่กลาง = 1000 Hz จะได้
D F = 50 kHz v » 125 mV So = 50/125 = 0.4 kHz/mV
Non
linearity N.L.
ของ modulator นิยามเป็นเปอร์เซนต์ที่เลื่อนออกจากค่า So
ที่ความถี่กลาง
-93-
N.L. =
linearity สามารถนำมาเขียน ตามรูป 4.6 พิจารณาที่จุดรอบ ๆ 1300
kHz คำนวณได้ดังนี้
D F' = 50 kHz v' = 175 mV
โดย
S' = 50/175 » 0.29 kHz/mV
N.L. = 0.4 - 0.29 *
100 = 27.5 %
0.4
เครื่องมือและอุปกรณ์
1. แผงทดลองหมายเลข T10A 1 แผง
2. แหล่งจ่ายไฟ ± 12Vdc 1 เครื่อง
3. ออสซิโลสโคป 1 เครื่อง
4. สายต่อวงจร 10 เส้น
ลำดับการทดลอง
1.
จ่ายไฟ ± 12 V. ให้แผงทดลอง T10A
2.
ต่อออสซิโลสโคป
ที่จุด RF/FM OUT
(19) ของภาค VCO
1
3.
VCO 1 ·
ปรับปุ่ม LEVEL =
2 Vp-p
·
ปรับสวิทช์ไปที่
1500kHz.
ปรับปุ่ม FREQ. ให้ความถี่น้อยที่สุด