วิชา ระบบสื่อสารแอนะลอก
หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย การมอดูเลตแอมพลิจูด จำนวน 9
คาบ
ใบงานที่ 5 ชื่องาน
การดีมอดูเลตแบบเอเอ็ม จำนวน 3
คาบ
จุดประสงค์ทั่วไป
เพื่อให้เข้าใจการทำงานการมอดูเลตแบบเอเอ็ม
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1.
อธิบายการทำงานของ AM Synchornous Detector ได้
2.
อธิบายความเพี้ยนเนื่องจาก Ripple และ Diagonal cutting ได้
เนื้อหา
Synchronous
AM Detector
ใน Synchronous AM Detector เรียกว่า Coherent
AM Detector สัญญาณที่ modulate แบบ
Amplitude ผสมเป็น Coherent สัญญาณ พาหะ
และผลลัพธ์ แล้วผ่าน
VM(t) = Vm(t)sin(2pFt)
โดย Vm(t) = A[1+m*sin(
ความถี่ของ Carrier
ถ้า AM Signal ไม่ได้รวมกับ not modulated
signal ซึ่งมีความถี่และ Phase เดียวกัน
ดังนั้น Output ของ Multiplier เป็น
Composite signal Vo(t) ซึ่งแสดงได้ดังนี้
Vo(t) = [Acsin(2pFt)]*[Vm(t)*sin(2pFt)
= KoVm[1+cos(2pFt)]
โดย Ko
เป็นเกนของวงจร Multiplier
การสร้างสัญญา Vo(t) ผ่าน low pass filter เพื่อย้ายองค์ประกอบความถี่
Vout = Ko*Vm(t)
จึงสอดคล้องกับ AM detected signal
ระบบ PLL (Phase Locked Loop) มักจะใช้ในการ
Regenerate สัญญาณในเครื่องรับซึ่ง Synchronous กับ Carrier ของสัญญาณ AM Block Diagram ของ Complete Detector แสดงในรูป 5.2 เมื่อต้องการคุณภาพสูง การใช้ AM Synchronous Detector แสดงข้อได้เปรียบที่สำคัญ ตาม Envelope Detector
![]() |
![]() |
การเพี้ยนของ Detected Signal
Demodulated Signal มีการเพี้ยน 2 ชนิด
·
ถ้า Time Constant R*C มีค่าน้อยเกิน
เมื่อเทียบกับ คาบของ Carrier Envelope จะมีผลของ
Ripple ยิ่งค่า R*C ต่ำมากจะเกิดผลมาก (รูป 5.3)
·
ถ้า Time Constant R*C มีค่ามากเกินเปรียบเทียบกับคาบของ
modulationg Signal Detected Signal มักจะเป็นไปตามพฤติกรรมของ
envelope แต่บางทีมีการลดแบบ Exponential (Distortion โดย
Diagonal Cutting รูป 5.4)
![]() |
รูป 5.3 Ripple
![]() |
เครื่องมือและอุปกรณ์
1. แผงทดลองหมายเลข T
2. แหล่งจ่ายไฟ ± 12 Vdc 1 เครื่อง
3. ออสซิโลสโคป 1 เครื่อง
4. สายต่อวงจร 30 เส้น
ลำดับการทดลอง
1.
![]() |
2.
ตั้งค่า FUNCTION GENERATOR ที่แผง T
·
JUMP J1 สัญญาณ sine
·
ปรับปุ่ม LEVEL =
0.5 Vp-p
·
ปรับปุ่ม FREQ. =
10 KHz
3.
ตั้งค่า Vco2
ที่แผง T
·
ปรับปุ่ม LEVEL =
1 Vp-p
·
ปรับปุ่ม FREQ. = 450
KHz
4.
ตั้งค่า BALANCED MODULATOR 1 ที่แผง
T 10 B โดยใช้ออสซิโลสโคปวัดสัญญาณที่
OUT (3)
·
ปรับปุ่ม CARRIER NULL โดยหมุนตามเข็ม
หรือทวนเข็มนาฬิกาจนสุดเพื่อ Unbalance modulator
·
ปรับปุ่ม OUT LEVEL ให้ได้สัญญาณที่เหมาะสม
5.
ตั้งค่า BALANCED MODULATOR 2 ที่แผง
T 10 B โดยใช้ออสซิโลสโคปวัดสัญญาณที่ OUT (17)
·
ปรับปุ่ม CARRIER NULL อยู่ในตำแหน่งกึ่งกลาง
เพื่อให้เกิด Balanced modulator
ที่ Suppressed carrier
·
ปรับปุ่ม OUT LEVEL ให้ได้สัญญาณที่เหมาะสม