วิชา ระบบสื่อสารแอนะลอก
หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย
การมอดูเลตแอมพลิจูด จำนวน 9 คาบ
ใบงานที่ 4 ชื่องาน สเปกตรัมของเอเอ็ม จำนวน 100 คาบ
เพื่อให้เข้าใจการทำงาน การมอดูเลตแบบเอเอ็ม
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1.
วัดรูปสัญญาณสเปกตรัมของเอเอ็มได้
2.
วิเคราะห์รูปสัญญาณสเปกตรัมของเอเอ็มได้
เนื้อหา
1.2.2 SPECTRUM ของ MODULATED SIGNAL
VM(T) = Asin(2pFt)+M*A/2*cos(2[p(F-f)*t]-mA/2cos[(2p(F-f)*t]
ประกอบด้วย 3 ส่วนประกอบ
1)
Asin(2pFt) CARRIER
2)
M*A/2*cos(2p(F-f)*t] LOWER
SIDE BAND
![]() |
เครื่องมือและอุปกรณ์
1. แผงทดลองหมายเลข T
2. แหล่งจ่ายไฟ ± 12 Vdc 1
เครื่อง
3. ออสซิโลสโคป 1 เครื่อง
4. สายต่อวงจร 30 เส้น
ลำดับการทดลอง
1.
![]() |
2.
ตั้งค่า FUNCTION GENERATOR ที่แผง T
·
JUMP J1 สัญญาณ sine
·
ปรับปุ่ม LEVEL =
0.5 Vp-p
·
ปรับปุ่ม FREQ. =
10 KHz
3.
ตั้งค่า Vco1
ที่แผง
·
ปรับปุ่ม LEVEL =
1 Vp-p
·
ปรับปุ่ม FREQ. =
450 KHz
4.
ตั้งค่า Vco2
ที่แผง
·
ปรับปุ่ม LEVEL = 2 Vp-p
·
ปรับปุ่ม FREQ
= 450 KHz
5.
ที่
SWEEP
ของแผง T 10 B
·
ปรับปุ่ม DEPTH ทวนเข็มนาฬิกาจนสุด
6.
ที่ RF DETECTOR ของแผง T 10 B
·
ปรับปุ่ม
LEVEL ตามเข็มนาฬิกาจนสุด
7.
ที่
Balance modulator 1 ของแผง T 10 B
·
ปรับปุ่ม carrier NULL หมุนตามเข็มหรือทวนเข็มจุดสุด
·
ปรับปุ่ม LEVEL ตามเข็มจุดสุด
8.
ที่ Balance moduator
2 ของแผง T 10
B
·
ปรับปุ่ม carrier NULL ไว้ที่ตำแหน่งกึ่งกลาง
·
ปรับปุ่ม LEVEL ไว้ที่ตำแหน่งกึ่งกลาง
9.
ที่
CERAMIC
FILTER 455 KHz ของแผง
T 10 B
·
ปรับ TRIMMER หมุนตามเข็มจุดสุด
10.
ปรับออสซิโลสโคปไปที่
mode
X-Y (X = 0.2 v/div, - Y = 50 mv/div) ต่อ CH1 (X) เข้าที่จุด
XAXIS (1) ของ SWEEP และต่อ CH2 (Y) เข้าที่จุด OUT (3) ของ
RF DETECTOR