วิชา ระบบสื่อสารแอนะลอก
หน่วยที่
1
ชื่อหน่วย การมอดูเลตแอมพลิจูด (AMPLITUDE MODULATION) จำนวน 9
คาบ
ใบงานที่ 1
ชื่องาน การมอดูเลตแบบเอเอ็ม จำนวน 2
คาบ
จุดประสงค์ทั่วไป
เพื่อให้เข้าใจการทำงานการมอดูเลตแบบเอเอ็ม
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1.
อธิบายการทำงานการมอดูเลตแบบเอเอ็มได้
2.
วัดและคำนวณหาเปอร์เซนต์การมอดูเลตได้
เนื้อหา
พิจารณาสัญญาณ SINE VM(T) มีความถี่ f
(รูปที่ 1.1)
VM(T) =
B sin(2pFt)
และสัญญาณหนึ่ง VC(T) มีความถี่ f
VC(T) =
A sin(2pFt)
สัญญาณ VM(T) เรียกว่า MODULATING
SIGNAL
สัญญาณ V(T) เรียกว่า CARRIER SIGNAL
ปรับ AMPLITUDE ของ VC(T) เพิ่ม MODULATING SIGNAL VM(T) ให้กับ A
จะได้สัญญาณ
VM(T)
AMPLITUDE MODULATED ซึ่งแสดงได้โดย
VM(T) =
[A + kBsin(2pFt) sin(2pFt) = A[1 + m* sin(2pFt)] sin(2pFt)
โดย k = ค่าคงที่ของ PROPORTIONALITY
PERCENTAGE
MODULATION SIGNAL กำหนดได้โดย
M =
kB/A*100
อ้างอิงกับรูป
M =
(H – h)/(H + h)*100%
-7-
รูป
แสดงส่วนประกอบที่แตกต่างกันของสัญญาณ AM ในไดอะแกรม AMPLITUDE/
ความถี่และ
ไดอะแกรม แอมปริจูด/เวลา
![]() |
เครื่องมือและอุปกรณ์
1. แผงทดลองหมายเลข T
2. แหล่งจ่ายไฟ ±
12 Vdc 1 เครื่อง
3. ออสซิโลสโคป 1 เครื่อง
4. สายต่อวงจร 30
เส้น
ลำดับการทดลอง
1.
![]() |
-8-
2.
ตั้งค่า FUNCTION GENERATOR ที่แผง T
·
JUMP J1 สัญญาณ sine
·
ปรับปุ่ม LEVEL =
0.5 Vp-p
·
ปรับปุ่ม FREQ. =
1 KHz
3.
ตั้งค่า Vco2
ที่แผง
·
ปรับปุ่ม LEVEL =
1 Vp-p
·
ปรับปุ่ม FREQ. =
450 KHz
4.
ตั้งค่า BALANDCED MODULATOR 1 ที่แผง
T 10 B โดยใช้ออสซิโลสโคปวัดสัญญาณที่ OUT (3)
·
ปรับปุ่ม CARRIER NULL โดยหมุนตามเข็ม
หรือทวนเข็มนาฬิกาจนสุด เพื่อ unbalance modulator
·
ปรับปุ่ม OUT LEVEL ให้ได้สัญญาณที่เหมาะสม
5.
บันทึกรูปคลื่น modulating
signal ที่จุด 2
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
-9-
6.
บันทึกรูปคลื่นสัญญาณ carrier ที่จุด 2
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
-13-
หน่วยที่ 1 การมอดดูเลตแอมพลิจูด(AMPLITUDE MODULATION)
ใบงานที่ 1 การมอดูเลตแบบเอเอ็ม
ชื่อ-นามสกุล…………………………...……เลขประจำตัว….………………….ห้อง..….……กลุ่ม…..
ลำดับที่ |
หัวข้อประเมิน |
ผ่าน |
ไม่ผ่าน |
1 |
การประกอบวงจรได้อย่างถูกต้อง |
|
|
2 |
การทดลองนักเรียนคำนึงถึงความปลอดภัย |
|
|
3 |
ตำแหน่งการจัดวางเครื่องมือ-อุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม |
|
|
4 |
การใช้ออสซิโลสโคปวัดค่าแรงดันไฟฟ้าและรูปสัญญาณได้อย่างถูกต้อง |
|
|
5 |
การเขียนรูปสัญญาณตามจุดต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง |
|
|
6 |
การเก็บและทำความสะอาดอุปกรณ์-เครื่องมือ,
โต๊ะฝึกงานและโรงงาน |
|
|
ลงชื่อ……………………………..ผู้สอน
(…………………………..)
วันที่….เดือน…………พ.ศ……..
-14-
ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน
หน่วยที่ 1 การมอดดูเลตแอมพลิจูด(AMPLITUDE MODULATION)
ใบงานที่ 1 การมอดูเลตแบบเอเอ็ม
ชื่อ-นามสกุล…………………………….……...……เลขประจำตัว….………………….ชั้น...….……กลุ่ม…..
ลำดับที่ |
หัวข้อประเมิน |
ผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับ |
|||
ดีมาก |
ดี |
พอใช้ |
ต้องปรับปรุง |
||
1 |
การตรงต่อเวลา |
|
|
|
|
2 |
การแต่งกาย |
|
|
|
|
3 |
ความสนใจในการทดลองใบงาน |
|
|
|
|
4 |
การเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือ |
|
|
|
|
5 |
ลำดับขั้นการทอลอง |
|
|
|
|
6 |
การแก้ไขปัญหาในขณะทำการทดลอง |
|
|
|
|
7 |
ความรู้ความสามารถในการทดลองใบงาน -
อธิบายการทำงานการมอดูเลตแบบเอเอ็มได้ -
วัดและคำนวณหาเปอร์เซ็นต์การมอดูเลตได้ |
|
|
|
|
8 |
ความสะอาดและเป็นระเบียบ |
|
|
|
|
9 |
การเก็บทำความสะอาดอุปกรณ์-เครื่องมือหลังการปฏิบัติงาน |
|
|
|
|
ลงชื่อ……………………………..ผู้สอน
(…………………………..)
วันที่….เดือน…………พ.ศ……..