วิชา ระบบสื่อสารแอนะลอก
หน่วยที่ 5 ชื่อหน่วย การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งความถี่ จำนวน 9 คาบ
ใบงานที่ 2 ชื่องาน การส่งช่องสัญญาณของ FDM จำนวน 1 คาบ
เพื่อศึกษาหลักพื้นฐานของระบบส่งสัญญาณผ่านระบบมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งความถี่
1.
อธิบายการทำงานของ
2-Channel FDM Transmitter ได้
2.
ปรับระดับของสัญญาณ
2- Channel FDM ได้
3.
วิเคราะห์รูปคลื่นของสัญญาณที่สัมพันธ์กับความถี่ได้
ลักษณะของวงจร
2-Channel
FDM Transmitter ที่ใช้สำหรับการทดลองประกอบด้วย
· 2- Channel Modulators
· ส่วนของ Carrier และ Tone Generation
·
![]() |
การทำงานของ Channel Modulators แสดงไว้ในบทที่ 2 Modulator ทั้ง 2 แตกต่างกันที่ความถี่ Carrier
(4 หรือ 8 Hz) และ Passband ของ Output Channel Filter(4-8 kHz หรือ 8-12 kHz)
·
สัญญาณรูปเหลี่ยมความถี่ 8 kHz ใช้เป็น Carrier สำหรับ Channel 2
·
สัญญาณไซน์ความถี่ 3825 Hz. ใช้สำหรับ Out-Of-Band Signalling
Toneจะถูกส่งไปที่ Modulator ขณะที่คำสั่ง SIGNALING (TP22) ต่อกับ±12V
·
32 kHz. Pilot
Frequency ใช้ระหว่างการรับสัญญาณในการทำ Level Automatic Control บนสัญญาณที่รับมา
·
สัญญาณ
Sinusoidal Synchronous ความถี่ 500 และ 1000 Hz. ที่มี Carrier ตามลำดับ
Channel Combiner และวงจร
Transmission
Channel Combiner ใช้ทำ Adding Amplifier ซึ่งรวมสัญญาณที่มาจาก Channels และ pilot Generator ขยายสัญญาณเหล่านี้ และส่งเข้าไปในสายผ่าน Isolation Transformer
1.
แหล่งจายไฟ ±12 Vde 1 ชุด
2.
ออสซิโลสโคป 1 เครื่อง
3.
มิเตอร์วัดความถี่ 1 เครื่อง
4.
เครื่องกำเนิดสัญญาณ
0.1-100 MHz’ 1 เครื่อง
5.
แผงทดลอง
L03 1 ชุด
Level
Regulation
1.
ต่อวงจรระหว่างจุดเหล่านี้ TP3-TP4;TP5-TP6;TP9-TP10;TP26-TP8;TP27-TP18;TP24-TP2 และ TP24-TP14แล้วจ่ายไฟ ±12V(รูป2.2)
2.
ปรับ LF LEVEL ของเครื่องกำเนิดสัญญาณ 2 ไปที่จุด Maximum (มากที่สุด) และปรับ VF LEVEL ของ Sound Band Amplifiers เพื่อให้ได้สัญญาณที่มีแอมปลิจูดเท่านั้น(เกือบ 0.2 Vpp) ที่ TP3 และ TP15
3.
![]() |
4.
ปรับ Tranmission Amplifier TX LEVEL ไปที่ Minimum (น้อยที่สุด)