วิชา ระบบสื่อสารแอนะลอก
หน่วยที่ 2 ชื่อหน่วย การมอดูเลตแถบข้างเดียว
(Single Sideband Modulation) จำนวน 9 คาบ
ใบงานที่ 3 ชื่องาน การมอดูเลตได้ดุล (Balanced
modulator) จำนวน 3 คาบ
จุดประสงค์ทั่วไป
เพื่อให้เข้าใจการทำงานการมอดูเลตแถบข้างเดียว
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1.
วัดรูปคลื่น
Balanced modulator ได้
2.
วิเคราะห์สเป็กตรัมของสัญญาณ
SSB ได้
3.
อธิบายผลแตกต่างระหว่าง
Balanced modulator และ Unbalanced modulator ได้
เนื้อหา
ลักษณะที่สำคัญ
ทฤษฎี AM การผสมสัญญาณหมุนที่ทดสอบในบทที่ 1 ซึ่งเป็นการแสดงว่ากระบวนการ modulation carrier และ
two side band
So
Vm(t) คือ Modulating Signal : Vm(t) = B
sin(2pft)
และ VC(t) Carrier :VC(t) = A sin(2pft)
modulated
signal Vm(t) ประกอบด้วย
A
sin(2pft) carrier
m*A/2*cos[(2p(F-f)t)] lower
side band
m*A/2*cos[(2p(F-f)t)] lower
side band
ถ้า modulating signal ไม่ได้ประกอบด้วย
Single sine wave แต่มี generic singnal มีความถี่ระหว่าง
f1 และ f2 โดยมี Amplitude
Modulation Spectrum นี้เคลื่อนที่อยู่เหนือและใต้ Carrier (รูป 3.1)
-63-
Carrier
ไม่ได้มีข่าวสารอยู่ มี amplitude คงที่
และความถี่เป็นอิสระ กับ modulating signal two side band มีลักษณะเหมือนกันในแต่ละด้าน
amplitude ของทั้งสองเปลี่ยนไปตาม m*A/2 และความถี่แตกต่างจากความถี่ของ
Carrier ของจำนวนเดียวกัน f คุณจะเห็นว่า
ข้อมูลทั้งหมดสามารถถูกส่งโดยใช้ One single side band (SSB) against
Amplitude modulation AM จาก amplitude modulation Single
side band มีข้อดีดังต่อไปนี้
· Band
ของสัญญาณมอดูเลท ลดลงครื่งหนึ่งหมายความว่า ในช่วงความถี่เดียวกัน
มีจำนวน Channel เพิ่มขึ้น 2 เท่า
· กำลังที่จ่ายออกมาจาก Transmitter จ่ายให้กับข่าวสารเพื่อส่งออกไปต่างจาก
AM ซึ่งกำลังส่วนใหญ่มาจาก Carrier ในข้อดีของ
SSB ตาม AM สามารถรู้ได้ว่า
· ความซับซ้อนของวงจรเพิ่มขึ้นใน มอดูเลเตอร์ และดีมอดูเลเตอร์
· ต้องการสร้าง Carrier ใน คาดซับ
เพื่อตรวจจับการผสมสัญญาณให้ถูกต้องจากการใช้ SSB
· การงาน SSB ตัวอย่างการใช้ SSB
· การส่งสัญญาณวิทยุ
· การส่งสัญญาณโทรทัศน์ชนิดหลายช่อง (Multi Channal)
multichannel Telephone (รูป 3.2) โดยใช้เทคนิคของ
FDM (Freqlency Dinision Multiplexing)
· การส่งข้อมูลแบบความเร็วสูง (Modem V35/V36/V37)
รูป 3.2 Ferquency Division Multiplexing FDM
Balanced Modulator
Balanced
Modulator คือ วงจรซึ่งสร้าง Amplitude Modulation มี Supressed Carrier ประกอบด้วย Single side
band เพื่อให้ได้ผลดังกล่าว เพียงพอที่จะเพิ่ม Carrier
Signal และ Modulating Signal ระหว่างทั้ง 2
ถ้า Vm(t) คือ modulating
Signal
Vm(t)
= B sin(2pft)
และ VC(t) เป็น Carrier VC(t) = A
sin(2pft)
Modulated
Signal Vm(t) มีส่วนประกอบ 2 ส่วน (รูป 3.4)
K
cos[2p(F-f)t] lower
side band
K
cos[2p(F+f)t] upper
side band
IC ที่ใช้มักจะเป็น Signal
Multiplier และเป็น Balanced Modulator คือ
1496 ประกอบด้วย Quadruple Differential Amplifier ที่ทำงานโดย Differential
Amplifier output signal ประกอบด้วย gain คงที่ซึ่งรวมกับาผลที่ได้จาก
input signal ทั้ง 2
-65-
รูป Balanced Modulator
รูป Wave forms of the balanced modulator
รูป Spectrum of the
signal generated by the balanced modulator
เครื่องมือและอุปกรณ์
1. แผงทดลองหมายเลข T10A,
T10B 1
ชุด
2. แหล่งจ่ายไฟ ± 12 Vdc 1
เครื่อง
3. ออสซิโลสโคป 1
เครื่อง
4. สายต่อวงจร 30 เครื่อง
ลำดับการทดลอง
1.
ต่อแผงทดลองตามรูป
และจ่ายไฟ ± 12 V. ให้กับวงจร
-67-
2.
ตั้งค่า VCO1
ที่แผง T10A โดยใช้ออสซิโลสโคปวัดสัญญาณที่ RF/FM
OUT (19)
·
ปรับปุ่ม LEVEL =
1 Vp-p
·
ปรับปุ่ม FREQ. =
450 kHz
3.
ตั้งค่า
FUNCTION GEN ที่แผง T10A โดยใช้ออสซิโลสโคปวัดสัญญาณที่
OUT (6)
·
JUMP J1 สัญญาณ sine
·
ปรับปุ่ม LEVEL =
0.5 Vp-p
·
ปรับปุ่ม FREQ. =
10 kHz
4.
ตั้งค่า BALANCED MODULATOR 1 ที่แผง T10B
·
ปรับปุ่ม CARRIER
NULL อยู่ที่ตำแหน่งกึ่งกลาง เพื่อให้ modulator
"balanced"
·
ปรับปุ่ม
OUT LEVEL อยู่ในตำแหน่งกึ่งกลาง
5.
นำออสซิโลสโคป CH1
วัดที่จุด 2 และ CH2 วัดที่จุด 1 ของ BALANCED
MODULATOR1 บันทึกรูปคลื่น